Soft skill/Hard skill

รองศาสตราจารย์ ดร.วิศปัตย์ ชัยช่วย ผู้ช่วยคณดีฝ่ายบัณฑิตศึกษาอนาคต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น เนื้อหา 1.ความหมาย และลักษณะของทักษะ2.ประเภทของทักษะ 3.ความแตกต่างของ Soft skill และ Hard skill 4.การยกระดับทักษะ (Upskilling)5.อ้างอิง 1.ความหมาย และลักษณะของทักษะ เรามักได้ยินคำว่า “ทักษะ” (Skill) ในบริบทของ การกีฬา การแสดง งานช่าง งานฝีมือ อยู่บ่อยครั้ง เพราะทักษะเป็นองค์ประกอบสำคัญที่ทำให้สิ่งนั้นสำเร็จ ทักษะ เป็นมโนทัศน์ สำหรับอธิบาย  ความเชี่ยวชาญ, ความชำนาญ, ความสามารถ, ฝีมือ, ความช่ำชอง, ความแคล่วคล่อง, ความสันทัด ของบุคคลหรือองค์กร  เมื่อทักษะประกอบกับ ความรู้

ระบบสะสมหน่วยกิต (Credit Bank System)

ผู้เรียบเรียง: รองศาสตราจารย์ ดร.วิศปัตย์ ชัยช่วย ผู้ช่วยคณดีฝ่ายบัณฑิตศึกษาอนาคต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น เนื้อหา1.แนวคิดเกี่ยวกับระบบสะสมหน่วยกิต2.ลักษณะของระบบสะสมหน่วยกิต3.รูปแบบของระบบสะสมหน่วยกิต4.ข้อดีและข้อจำกัดของระบบสะสมหน่วยกิต5.อ้างอิง 1.แนวคิดเกี่ยวกับระบบสะสมหน่วยกิต หน่วยกิต (Credit) เป็นหน่วยวัดปริมาณ คุณค่า และระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน ซึ่งมีที่มาจากหลากหลาย คือ  (สำนักงานสภานโยบายการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ, 2565) ปัจจุบัน  ด้วยฐานแนวคิดการศึกษาตลอดชีวิตและมุมมองทางการธนาคาร เห็นว่า หน่วยกิต เป็นสิ่งที่สามารถสะสม เพิ่มพูน เทียบโอนได้ ในลักษณะเดียวกับสินทรัพย์ ที่นำไปฝากไว้ในระบบธนาคาร  โดยหน่วยกิตเปรียบเสมือนสกุลเงินหนึ่ง คือ สกุลเงินความรู้ (Knowledge Currency) ที่เมื่อสะสมจนจบหลักสูตร ก็จะสามารถเทียบ โอน หรือแปลงเป็นหนังสือรับรองคุณวุฒิได้  (Junor &

สมรรถนะ (Competencies)

ผู้เรียบเรียง: รองศาสตราจารย์ ดร.วิศปัตย์ ชัยช่วย ผู้ช่วยคณดีฝ่ายบัณฑิตศึกษาอนาคต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่นเนื้อหา 1.แนวคิด 2.ประเภท 3.องค์ประกอบ  4.หลักสูตรฐานสมรรถนะ5.ประเมินสมรรถนะ6.อ้างอิง 1.แนวคิด “สมรรถนะ” เป็นมโนทัศน์ที่ใช้สำหรับกล่าวถึงความสามารถในด้านต่าง ๆ ของเครื่องยนต์ เช่น กำลัง แรงบิด อัตราความสิ้นเปลืองเชื้อเพลิงที่แตกต่างกันออกไป การวัดและทดสอบสมรรถนะของเครื่องยนต์ ก็เพื่อเป็นการนำข้อมูลไปวิเคราะห์ ออกแบบและปรับปรุงเครื่องยนต์ให้มีความเหมาะสม หรือมีประสิทธิภาพสูงสุด    ในทางการบริหารองค์การ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ และการจัดการศึกษา “สมรรถนะ” คือ ชุดของความรู้ ทักษะ ลักษณะเฉพาะ และอื่นๆ ที่ทำให้การดำเนินงานใดๆบรรลุความมุ่งหมาย ซึ่งการวัด ทดสอบสมรรถนะ ก็เพื่อให้นำไปใช้ปรับปรุง พัฒนา ส่งเสริม การทำงานหรือการแข่งขันของบุคลากร หรือองค์กรให้ดีขึ้นหรือมีประสิทธิภาพมากขึ้น เช่นกัน   คำว่า

Soft Skills ที่จำเป็นในอนาคต : [br]การคิดเชิงวิพากษ์ (Critical Thinking)

ผู้เรียบเรียง รองศาสตราจารย์ ดร.วิศปัตย์ ชัยช่วย ผู้ช่วยคณดีฝ่ายบัณฑิตศึกษาอนาคต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น เนื้อหา 1.ความหมายและความสำคัญ2.ลักษณะและองค์ประกอบ3.กระบวนการ4.การพัฒนาทักษะ 5.อ้างอิง 1.ความหมายและความสำคัญ การคิด เป็นกลไกทางสมองตามธรรมชาติของมนุษย์  จากการที่สมองรับข้อมูลจากสิ่งแวดล้อม สังคมและประสบการณ์ดั้งเดิมของมนุษย์ ด้วยประสาทสัมผัสต่างๆ  ทำให้เกิดกระบวนการจำแนกรายละเอียด การเชื่อมโยงความสัมพันธ์ของข้อมูลที่ได้รับ ซึ่งข้อมูลอาจเป็นแบบรูปธรรมหรือนามธรรม เกิดการแปลความหมายของข้อมูล สรุป อ้างอิง สร้างแนวความคิดรวบยอด  ตลอดจนเป็นกระบวนการที่เกี่ยวกับการนำกฎเกณฑ์ต่าง ๆ ไปประยุกต์ใช้ได้อย่างมีเหตุผลและเหมาะสม  การคิดนี้ครอบคลุมตั้งแต่เรื่องง่ายๆไปจนถึงเรื่องที่มีความซับซ้อน  สภาความเป็นเลิศแห่งชาติด้านการคิดเชิงวิพากษ์ (The National Council for Excellence in Critical Thinking) ให้นิยามของ การคิดเชิงวิพากษ์ ว่า เป็นกระบวนการทางปัญญาอย่างมีวินัย ในการคิด

การเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปรมะ แขวงเมือง สาขาวิชาการศึกษาด้านการพัฒนาวิชาชีพ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นอาจารย์พรพิสุทธิ์ ดวงเงิน สาขาวิชาภาษาอังกฤษ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎอุดรธานี การพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21 ต้องอาศัยการเรียนการสอนที่ช่วยพัฒนาผู้เรียนให้เกิดทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 กระบวนทัศน์ในการจัดการศึกษาต้องเปลี่ยนแปลงไป ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดการศึกษา ไม่ว่าจะเป็น ผู้เรียน ผู้สอน ผู้นำ รวมไปถึงชุมชน ต้องร่วมกันเตรียมความพร้อมสำหรับอนาคต กระบวนทัศน์ที่สำคัญที่จะทำให้เกิดความเปลี่ยนแปลงได้นั้น คือการเคลื่อนเข้าสู่ “การเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง (Learner-centered Approach)” อย่างแท้จริง รวมถึงการเชื่อมโยงสิ่งแวดล้อมการเรียนรู้ภายใต้แนวคิดของการพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะสำคัญในตนเอง เป็นผู้เรียนที่มีทักษะ Think Globally, Act Locally ในบทความนี้จะนำเสนอ การเรียนรู้แบบเดิมกับการเรียนรู้สมัยใหม่ เพื่อแสดงให้เห็นถึงความจำเป็นในการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ในการจัดการเรียนการสอนเพื่อนำไปสู่กระบวนทัศน์ใหม่ของการสอนและการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องในศตวรรษที่ 21 The development

Micro-Learning

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปรมะ แขวงเมือง สาขาวิชาการศึกษาด้านการพัฒนาวิชาชีพ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นอาจารย์พรพิสุทธิ์ ดวงเงิน สาขาวิชาภาษาอังกฤษ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎอุดรธานี Micro-Learning สื่อการเรียนรู้ในรูปแบบดิจิทัล ที่นำเสนอแนวคิดในการเรียนรู้และรับข้อมูลจากบทเรียนที่มีเนื้อหาในบทเรียนสั้นๆ เนื้อหาแบ่งเป็นหัวข้อเรื่องย่อยๆ โดยผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเองทีละเล็กทีละน้อย ผ่านอุปกรณ์สื่อสารหรืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ของผู้เรียน ที่ช่วยให้ผู้เรียนออกแบบการเรียนรู้ได้อย่างเฉพาะเจาะลง ตรงตามความสนใจและความต้องการของตนเอง ในบทความนี้จะนำเสนอแนวคิดการเรียนรู้ Micro-Learning หัวใจสำคัญของการเรียนรู้แบบ Micro-Learning รวมถึงการใช้เครื่องมือในการเรียนรู้ Micro-Learning เพื่อสร้างความเข้าใจและมุมมองของการเรียนรู้ในรูปแบบใหม่ ภายใต้สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการเรียนรู้ด้วยตนเอง และการออกแบบการเรียนรู้ที่เหมาะสมสำหรับการจัดการเรียนรู้ในยุคดิจิทัลต่อไป Micro-Learning is a digital learning media that presents concepts for learning and obtaining

 Soft Skills ที่จำเป็นในอนาคต [br]การแก้ไขปัญหา (Problem Solving)

ผู้เรียบเรียง รองศาสตราจารย์ ดร.วิศปัตย์ ชัยช่วย ผู้ช่วยคณดีฝ่ายบัณฑิตศึกษาอนาคต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น เนื้อหา 1.ความหมายและความสำคัญของการแก้ไขปัญหา2.ลักษณะและองค์ประกอบของการแก้ไขปัญหา3.กระบวนการแก้ไขปัญหา4.การสอนทักษะการแก้ไขปัญหา 5.อ้างอิง 1.ความหมายและความสำคัญของการแก้ไขปัญหา จากวิกฤตการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 ที่ผ่านมา เป็นเครื่องยืนยันอย่างชัดเจนว่า ทั่วโลกต้องเผชิญกับปัญหาที่ยุ่งยาก ซับซ้อน ไม่เคยพบมาก่อน และต้องพยามผ่านพ้นวิฤตนั้นโดยอาศัยทักษะการแก้ไขปัญหา เป็นพื้นฐานสำคัญ “ปัญหา” เป็นสถานะใด ๆ ในพื้นที่ใด ๆ ของชีวิต ที่บุคคลต้องการบรรลุจุดมุ่งหมายหรือทำงานให้เสร็จภายในระยะเวลาหนึ่ง แต่ไม่รู้ว่าจะไปถึงตำแหน่งที่ต้องการ หรือลดช่องว่างระหว่างสภาพปัจจุบันและที่ซึ่งต้องการบรรลุอย่างมีประสิทธิภาพได้อย่างไร (Rahman, 2019)  ปัญหาอาจเป็นข้อสงสัย คำถามเกี่ยวกับเรื่องราว สถานการณ์ เหตุการณ์ หรือบุคคลที่ทำให้เกิดความสับสน ยุ่งยาก ข้อที่ต้องพิจารณาเพื่อแก้ไข   ปัญหาเกิดขึ้นได้ในการดำเนินชีวิตประจำวัน นับตั้งแต่เรื่องส่วนตัวง่ายๆ มีความเฉพาะ

Soft Skills ที่จำเป็นในอนาคต[br]การทำงานร่วมกัน (Collaboration)

ผู้เรียบเรียง: รองศาสตราจารย์ ดร.วิศปัตย์ ชัยช่วย ผู้ช่วยคณดีฝ่ายบัณฑิตศึกษาอนาคต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น เนื้อหา1.ความหมายและความสำคัญ2.ลักษณะและองค์ประกอบ3.การพัฒนาทักษะ 4.เครื่องมือ5.อ้างอิง 1.ความหมายและความสำคัญ การทำงานร่วมกัน (Collaboration) คือ ความสามารถของคน หน่วยงาน หรือองค์กรตั้งแต่สองฝ่ายขึ้นไป ที่ร่วมแรงร่วมใจกัน ทุ่มเทความพยายามและความเชี่ยวชาญ ทำงานแบบประสานสอดคล้อง เพื่อให้สำเร็จหรือบรรลุเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ  (Gratton & Erickson, 2007; The Australian Council for Educational Research Ltd. , 2020; Association for Intelligent Information Management, 2023)  ในแง่ของการเรียนรู้ การทำงานร่วมกัน