Micro-Learning

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปรมะ แขวงเมือง สาขาวิชาการศึกษาด้านการพัฒนาวิชาชีพ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นอาจารย์พรพิสุทธิ์ ดวงเงิน สาขาวิชาภาษาอังกฤษ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎอุดรธานี Micro-Learning สื่อการเรียนรู้ในรูปแบบดิจิทัล ที่นำเสนอแนวคิดในการเรียนรู้และรับข้อมูลจากบทเรียนที่มีเนื้อหาในบทเรียนสั้นๆ เนื้อหาแบ่งเป็นหัวข้อเรื่องย่อยๆ โดยผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเองทีละเล็กทีละน้อย ผ่านอุปกรณ์สื่อสารหรืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ของผู้เรียน ที่ช่วยให้ผู้เรียนออกแบบการเรียนรู้ได้อย่างเฉพาะเจาะลง ตรงตามความสนใจและความต้องการของตนเอง ในบทความนี้จะนำเสนอแนวคิดการเรียนรู้ Micro-Learning หัวใจสำคัญของการเรียนรู้แบบ Micro-Learning รวมถึงการใช้เครื่องมือในการเรียนรู้ Micro-Learning เพื่อสร้างความเข้าใจและมุมมองของการเรียนรู้ในรูปแบบใหม่ ภายใต้สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการเรียนรู้ด้วยตนเอง และการออกแบบการเรียนรู้ที่เหมาะสมสำหรับการจัดการเรียนรู้ในยุคดิจิทัลต่อไป Micro-Learning is a digital learning media that presents concepts for learning and obtaining

 Soft Skills ที่จำเป็นในอนาคต [br]การแก้ไขปัญหา (Problem Solving)

ผู้เรียบเรียง รองศาสตราจารย์ ดร.วิศปัตย์ ชัยช่วย ผู้ช่วยคณดีฝ่ายบัณฑิตศึกษาอนาคต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น เนื้อหา 1.ความหมายและความสำคัญของการแก้ไขปัญหา2.ลักษณะและองค์ประกอบของการแก้ไขปัญหา3.กระบวนการแก้ไขปัญหา4.การสอนทักษะการแก้ไขปัญหา 5.อ้างอิง 1.ความหมายและความสำคัญของการแก้ไขปัญหา จากวิกฤตการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 ที่ผ่านมา เป็นเครื่องยืนยันอย่างชัดเจนว่า ทั่วโลกต้องเผชิญกับปัญหาที่ยุ่งยาก ซับซ้อน ไม่เคยพบมาก่อน และต้องพยามผ่านพ้นวิฤตนั้นโดยอาศัยทักษะการแก้ไขปัญหา เป็นพื้นฐานสำคัญ “ปัญหา” เป็นสถานะใด ๆ ในพื้นที่ใด ๆ ของชีวิต ที่บุคคลต้องการบรรลุจุดมุ่งหมายหรือทำงานให้เสร็จภายในระยะเวลาหนึ่ง แต่ไม่รู้ว่าจะไปถึงตำแหน่งที่ต้องการ หรือลดช่องว่างระหว่างสภาพปัจจุบันและที่ซึ่งต้องการบรรลุอย่างมีประสิทธิภาพได้อย่างไร (Rahman, 2019)  ปัญหาอาจเป็นข้อสงสัย คำถามเกี่ยวกับเรื่องราว สถานการณ์ เหตุการณ์ หรือบุคคลที่ทำให้เกิดความสับสน ยุ่งยาก ข้อที่ต้องพิจารณาเพื่อแก้ไข   ปัญหาเกิดขึ้นได้ในการดำเนินชีวิตประจำวัน นับตั้งแต่เรื่องส่วนตัวง่ายๆ มีความเฉพาะ

Soft Skills ที่จำเป็นในอนาคต[br]การทำงานร่วมกัน (Collaboration)

ผู้เรียบเรียง: รองศาสตราจารย์ ดร.วิศปัตย์ ชัยช่วย ผู้ช่วยคณดีฝ่ายบัณฑิตศึกษาอนาคต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น เนื้อหา1.ความหมายและความสำคัญ2.ลักษณะและองค์ประกอบ3.การพัฒนาทักษะ 4.เครื่องมือ5.อ้างอิง 1.ความหมายและความสำคัญ การทำงานร่วมกัน (Collaboration) คือ ความสามารถของคน หน่วยงาน หรือองค์กรตั้งแต่สองฝ่ายขึ้นไป ที่ร่วมแรงร่วมใจกัน ทุ่มเทความพยายามและความเชี่ยวชาญ ทำงานแบบประสานสอดคล้อง เพื่อให้สำเร็จหรือบรรลุเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ  (Gratton & Erickson, 2007; The Australian Council for Educational Research Ltd. , 2020; Association for Intelligent Information Management, 2023)  ในแง่ของการเรียนรู้ การทำงานร่วมกัน