Micro-Learning

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปรมะ แขวงเมือง สาขาวิชาการศึกษาด้านการพัฒนาวิชาชีพ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นอาจารย์พรพิสุทธิ์ ดวงเงิน สาขาวิชาภาษาอังกฤษ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎอุดรธานี Micro-Learning สื่อการเรียนรู้ในรูปแบบดิจิทัล ที่นำเสนอแนวคิดในการเรียนรู้และรับข้อมูลจากบทเรียนที่มีเนื้อหาในบทเรียนสั้นๆ เนื้อหาแบ่งเป็นหัวข้อเรื่องย่อยๆ โดยผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเองทีละเล็กทีละน้อย ผ่านอุปกรณ์สื่อสารหรืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ของผู้เรียน ที่ช่วยให้ผู้เรียนออกแบบการเรียนรู้ได้อย่างเฉพาะเจาะลง ตรงตามความสนใจและความต้องการของตนเอง ในบทความนี้จะนำเสนอแนวคิดการเรียนรู้ Micro-Learning หัวใจสำคัญของการเรียนรู้แบบ Micro-Learning รวมถึงการใช้เครื่องมือในการเรียนรู้ Micro-Learning เพื่อสร้างความเข้าใจและมุมมองของการเรียนรู้ในรูปแบบใหม่ ภายใต้สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการเรียนรู้ด้วยตนเอง และการออกแบบการเรียนรู้ที่เหมาะสมสำหรับการจัดการเรียนรู้ในยุคดิจิทัลต่อไป Micro-Learning is a digital learning media that presents concepts for learning and obtaining

 Soft Skills ที่จำเป็นในอนาคต [br]การแก้ไขปัญหา (Problem Solving)

ผู้เรียบเรียง รองศาสตราจารย์ ดร.วิศปัตย์ ชัยช่วย ผู้ช่วยคณดีฝ่ายบัณฑิตศึกษาอนาคต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น เนื้อหา 1.ความหมายและความสำคัญของการแก้ไขปัญหา2.ลักษณะและองค์ประกอบของการแก้ไขปัญหา3.กระบวนการแก้ไขปัญหา4.การสอนทักษะการแก้ไขปัญหา 5.อ้างอิง 1.ความหมายและความสำคัญของการแก้ไขปัญหา จากวิกฤตการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 ที่ผ่านมา เป็นเครื่องยืนยันอย่างชัดเจนว่า ทั่วโลกต้องเผชิญกับปัญหาที่ยุ่งยาก ซับซ้อน ไม่เคยพบมาก่อน และต้องพยามผ่านพ้นวิฤตนั้นโดยอาศัยทักษะการแก้ไขปัญหา เป็นพื้นฐานสำคัญ “ปัญหา” เป็นสถานะใด ๆ ในพื้นที่ใด ๆ ของชีวิต ที่บุคคลต้องการบรรลุจุดมุ่งหมายหรือทำงานให้เสร็จภายในระยะเวลาหนึ่ง แต่ไม่รู้ว่าจะไปถึงตำแหน่งที่ต้องการ หรือลดช่องว่างระหว่างสภาพปัจจุบันและที่ซึ่งต้องการบรรลุอย่างมีประสิทธิภาพได้อย่างไร (Rahman, 2019)  ปัญหาอาจเป็นข้อสงสัย คำถามเกี่ยวกับเรื่องราว สถานการณ์ เหตุการณ์ หรือบุคคลที่ทำให้เกิดความสับสน ยุ่งยาก ข้อที่ต้องพิจารณาเพื่อแก้ไข   ปัญหาเกิดขึ้นได้ในการดำเนินชีวิตประจำวัน นับตั้งแต่เรื่องส่วนตัวง่ายๆ มีความเฉพาะ

Soft Skills ที่จำเป็นในอนาคต[br]การทำงานร่วมกัน (Collaboration)

ผู้เรียบเรียง: รองศาสตราจารย์ ดร.วิศปัตย์ ชัยช่วย ผู้ช่วยคณดีฝ่ายบัณฑิตศึกษาอนาคต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น เนื้อหา1.ความหมายและความสำคัญ2.ลักษณะและองค์ประกอบ3.การพัฒนาทักษะ 4.เครื่องมือ5.อ้างอิง 1.ความหมายและความสำคัญ การทำงานร่วมกัน (Collaboration) คือ ความสามารถของคน หน่วยงาน หรือองค์กรตั้งแต่สองฝ่ายขึ้นไป ที่ร่วมแรงร่วมใจกัน ทุ่มเทความพยายามและความเชี่ยวชาญ ทำงานแบบประสานสอดคล้อง เพื่อให้สำเร็จหรือบรรลุเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ  (Gratton & Erickson, 2007; The Australian Council for Educational Research Ltd. , 2020; Association for Intelligent Information Management, 2023)  ในแง่ของการเรียนรู้ การทำงานร่วมกัน

Wiki

This is an open source project which can be downloaded for free from github (requires developer experience to set up and configure). This website provides extra functionality over the free script for companies to manage their own users accounts and